วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   27   กันยายน   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


กิจกรรมในวันนี้

          วันนี้เป็นการเรียนครั้งสุดท้ายของวิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ประจำภาคเรียนที่  1   อาจารย์ได้ให้เขียน  my  mapping  ถึงความรู้ที่ได้รับจากวิชานี้



กิจกรรมภายในห้องเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   20   กันยายน   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.







-------------------------  ไม่ได้มาเรียนค่ะ  ----------------------------








บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   13   กันยายน   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


กิจกกรมในวันนี้

          อาจารย์ได้ให้แบ่งกลุ่มโดยแต่ละกลุ่มนั้นช่วยกันคิดและออกแบบมุมที่ช่วยส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาของเด็กปฐมวัย  โดยกลุ่มของดิฉันได้ออกแบบมุมที่มีชื่อว่า   "  มุมอาเซียน "


กิจกรรมภายในห้องเรียน


กิจกรรมภายในห้องเรียน


กิจกรรมภายในห้องเรียน


          หลังจากออกแบบทำมุมเสร็จเเล้วอาจารย์ได้ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอสื่อของกลุ่มตนเองว่าสื่อที่ออกแบบมานั้นช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษาภาษาของเด็กปฐมวัยอย่างไร


นำเสนอหน้าชั้นเรียน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   6   กันยายน   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


ความรู้ที่ได้รับ

          การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา

-  สร้งสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม

-  เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

 หลักการ

-  สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็กส่งเสริมเด็ฏสำรวจปฏิบัติจริง  กระทำด้วยตนเอง  เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระได้สังเกตและตั้งสมมติฐาน

-  สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการปฎิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับคนรอบข้าง  เด็กควรได้สื่อสาร 2 ทาง  ( ถาม  ตอบ )

-  สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารเพื่อของเด็กในรูปแบบต่าง ๆ โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็ฏต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้อง

-  สิ่งแวดล้อมควรหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่วาจา  ควรได้รับประสบการณ์และปฎิสัมพันธ์ที่หลากหลาย

มุมส่งเสริมทักษะภาษา

-  มุมหนังสือ

-  มุมบทบาทสมมติ

-  มุมศิลปะ

-  มุมดนตรี

ลักษะณะการจัดมุมเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา

-  มีพื้นที่สำหรับทำกิจกรรม

-  เด็กรู้สึกผ่อนคลาย

-  บริเวณใกล้ ๆ มุมควรมีโต๊ะ ดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว

- เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ


กิจกกรรมในวันนี้  

          วันนี้อาจารย์ได้ให้คัดลายมือพยัญชนะไทยทั้ง 44 ตัว

  

กิจกรรมภายในห้องเรียน


วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   30   สิงหาคมคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.



กืจกรรมในวันนี้
                   
             วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม ๆ ละ  5  คนแล้วให้เลือกว่าจะออกแบบสื่อการสอนหรือเกมการศึกษา  กลุ่มของเราเลือกที่จะออกแบบสื่อการสอน   สือของกลุ่มเรามีชื่อว่า  " คำคล้องจองแสนสนุก " พวกเราช่วยกันคิด  ช่วยกันออกแบบ  ช่วยกันทำจนเสร็จตามที่เราต้องการ



กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน




          หลังจากแต่ละกลุ่มทำสื่อการศึกษาเสร็จ อาจารย์ก็ได้ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานเกี่ยวกับประโยชน์จากสื่อที่เราผลิตว่าสื่อชิ้นนี้จะช่วยส่งเสริมทักษะด้านภาษาของเด็กได้อย่างไร


นำเสนอหน้าชั้นเรียน


ประโยชน์ที่ได้จากสื่อการสอน " คำคล้องจองแสนสนุก"

1. ทำให้เด็กได้ฝึกการใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัย  

2.ทำให้เด็กได้ฝึกการอ่านออกเสียงสระ  พยัญชนะ  และวรรณยุกต์

3.เด็กได้ฝึกการอ่านคำควบกล้ำ  เพื่อที่จะได้มีพัฒนาการทางภาษาเพิ่มขึ้น

4.เด็กจะได้รับความรู้จากเรื่องที่ต้องการสอนโดยผ่านคำคล้องจอง

5.เด็กจะได้มีจินตนาการตามเรื่องที่สอนและทำให้เด็กเข้าใจง่าย



วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   23   สิงหาคมคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


ความรู้ที่ได้รับ

สื่อการเรียนรู้ทางภาษา

ประเภทของสื่อ

1.  สื่อสิ่งพิมพ์   เช่น   หนังสือนิทาน   แผ่นพับ   นิตยสาร

2.  สื่อวัสดุ   เช่น   หุ่นจำลอง   แผนที่   แผนภูมิ

3.  สื่อโสตทัศนูปกรณ์   เช่น   คอมพิวเตอร์   เครื่องเล่นแผ่น

4.  สื่อกิจกรรม   เช่น   เกม   เพลง   การสาธิต   สถานการณ์จำลอง

5.  สื่อบริบท   เช่น   ห้องเรียน   บุคคล   ชุมชน  



บรรยากาศภายในห้อง
          
          วันนี้อาจารย์สอนเรื่องของสื่อทั้งความหมาย  ความสำคัญ   และประเภทของสื่อที่ใช้ในการพัฒนาทางภาษาของเด็กปฐมวัย   หลังจากที่เรียนเสร็จอาจารย์ได้ให้ลองทำสื่อไว้ใช้ภายในห้องเรียน   ซึ่งเป็นการทำสื่อแบบง่าย ๆ ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้   เพื่อน ๆ แต่ละคนก็วาดรูปตามที่ตนเองชอบและระบายสีกันอย่างสนุกสนานซึ่งแต่ละคนออกแบบงานของตนตามจินตนาการทำให้สื่อแต่ละชิ้นออกมามีสีสันสวยงามไม่แพ้กันเลย






บรรยากาศภายในห้องเรียน



กิจกรรมในวันนี้  คือ  การทำสื่อ


วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   16   สิงหาคมคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


กิจกรรมภายในห้องเรียน

          วันนี้อาจารย์ได้ให้เพื่อน ๆ แบ่งกลุ่มออกเป็น  4  กลุ่มเพื่อที่จะช่วยกันผลิตสื่อโดยกลุ่มของฉันได้รับโจทย์ให้ประดิษฐ์ธงอาเซียนทั้ง  10  ประเทศ  และหลังจากทำกิจกกรมเสร็จแล้วนั้นอาจารย์ใจดีให้ปั๊มดาวเพิ่มอีก  2  ดวงเนื่องจากงานที่ได้นั้นค่อนข้างยาก



กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

วันเสาร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   09   สิงหาคมคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.


กิจกรรมภายในห้องเรียน

           วันนี้อาจารย์ให้เพื่อน ๆ ทุกคนช่วยกันแต่งนิทานขึ้นมา  1  เรื่องและแบ่งเป็นกลุ่มเพื่อช่วยกันทำเป็นนิทานของห้องโดยแบ่งเป็น  10  กลุ่ม  ซึ่งนิทานมีชื่อเรื่องว่า  " ลูกหมูแสนซน "  ซึ่งพอนำนิทานแต่ละหน้ามารวมกันแล้วดูมีสีสันสวยงามน่าประทับใจมาก


กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน

กิจกรรมภายในห้องเรียน



บรรยากาศภายในห้องเรียน

          วันนี้เพื่อน ๆ ทุกคนตั้งใจทำหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมาก  และทุกคนสนุกสนานกับการทำกิจกรรมเพราะนอกจากจะนั่งทำงานแล้วยังมีเพลงเพราะ ๆ จากอาจารย์ใจดีที่เปิดให้ฟังด้วย  ทำให้เพื่อน ๆ ดูผ่อนคลายและมีความสุขในการเรียน





บรรยากาศภายในห้องเรียน


บรรยากาศภายในห้องเรียน



วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   02   สิงหาคมคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.






-----------------------------------   สอบกลางภาค   ---------------------------------------















บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   26   กรกฎาคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.



ความรู้ที่ได้รับ

     การประเมิน

1. ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย

2. เน้นความก้าวหน้าของเด็ก

3. ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย

4. ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง

5. ครูต้องให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน

6. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล


กิจกรรมภายในห้องเรียน

          วันนี้อาจารย์ให้วาดรูปอะไรก็ได้ที่ตนเองอยากวาดมาคนละ 1 อย่าง หลังจากที่แต่ละคนวาดรูปเสร็จแล้วนั้นอาจารย์บอกว่าให้นำเอาภาพของแต่ละคนมาเล่าเป็นนิทานต่อกัน เพื่อน ๆแต่ละคนก็นำเอาภาพของตนมาเล่าเป็นนิทานต่อกันอย่างสนุกสนานวกไปวนมา คอยลุ้นว่าเนื้อเรื่องจะเป็นไปในแนวทางไหน ซึ่งกิจกรรมนี้ทำให้เพื่อน ๆ มีรอยยิ้ม สนุกสนานกับการทำกิจกรรมและสร้างจินตนาการในการคิดว่าจะนำเอาภาพของเราไปเล่าต่อเพื่อนอย่างไรและจะทำยังไงให้เพื่อนคนต่อไปสามารถมาเล่าต่อเราได้




ภาพกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   19   กรกฎาคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.



ความรู้ที่ได้รับ

1. การจัดประสบการณ์เน้นภาษา  ( Skill  Approch )

     -  รู้จักส่วนย่อย  ๆ 

     -  การประสมคำ

     -  ความหมายของคำ

      -  นำคำมาประกอบเป็นประโยค

      -  แจกลูกสะกดคำการเขียน




(  Kenneth  Goodman )

     -  เสนอแนวทางการสอนภาษาธรรมชาติ

     -  มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษา + ความคิด

     -  แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก


  หลักการสอนภาษาธรรมชาติ

1.  การจัดสภาพเวดล้อม

2.  การสื่อสารที่มีความหมาย

3.  การเป็นแบบอย่าง

4.  การตั้งความคาดหวัง

5.  การคาดคะเน

6.  การใช้ข้อมูลย้อนกลับ

7.  การยอมรับนับถือ

8.  การสร้างความเชื่อมั่น



บรรยากาศภายในห้องเรียน

          วันนี้เพื่อน ๆ ทุกคนตั้งใจเรียนหนังสือและจดบันทึกความรู้ที่ได้รับจากอาจารย์ดีมาก  เพื่อน ๆ ช่วยกันออกความคิดเห็นเวลาที่อาจารย์ถาม  ท้ายชั่วโมงอาจารย์มีการนำเกมมาให้เล่นโดยฝึกการอ่านทั้งอ่านออกเสียง  วรรณยุกต์และการอ่านภาพ



กิจกรรมการอ่านภาพ

กิจกรรมการอ่านภาพ





บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5

วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤน   แจ่มถิน

วันที่   12   กรกฎาคม   พ.ศ.2556

เวลาเรียน   08.30 - 12.20   น.

เวลาเข้าเรียน   08.30   น.    เวลาเข้าสอน   08.30   น.   เวลาเลิกเรียน   11.30   น.



     เนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วดิฉันไม่ได้มาเรียนเลยไม่ได้นำเสนองานอาจารย์จึงให้นำเสนอในสัปดาห์นี้  เรื่อง  วิธีการเรียนรู้ของเด็ก



นำเสนองานกลุ่ม

นำเสนองานกลุ่ม

  


  หลังจากนั้นอาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับองค์ประกอบของภาษาและแนวคิดนักการศึกษา   ซึ่งแนวคิดนักการศึกษา แบ่งเป็น

1. แนวคิดพฤติกรรมนิยม
   
     -  สกินเนอร์

     -  John   B.watson

2. แนวคิดพัฒนาการทางสติปัญญา

     -  Piaget

     -  Vygotsky

3. แนวคิดความพร้อมทางร่างกาย

     -  Gessll 

4. แนวคิดเชื่อว่าภาษาติดตัวมาแต่กำเนิด

     -  Noam  Chomsky


          รวมไปถึงเรียนเรื่องแนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากเป็นสิ่งสะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภษาาและนำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้แตกต่างกัน  และวันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมในห้องเรียน  คือ  ให้วาดรูปของที่ตนเองรักและหวงมากที่สุด




ภาพที่ทำกิจกรรมในห้องเรียน




บรรยากาศภายในห้องเรียน

          วันนี้เพื่อน  ๆ  มีความสุขในการเรียนมากอาจเพราะกิจกรรมที่อาจารย์มอบหมายให้ทำทำให้เพื่อน ๆ  หลายคนได้นึกย้อนไปถึงตอนที่ตนเองเป็นเด็กกับของเล่นที่ตนเองรักเพื่อน  ๆ  แต่ละคนมีของที่ตนรักแตกต่างกันและทำให้ฉันได้รู้ถึงประสบการณ์เก่า ๆ ของเพื่อน  ๆ  แต่ละคน